วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฟังก์ชันขั้นบันได

ฟังก์ชันขั้นบันได
  ฟังก์ชันขั้นบันได (Step Function)


    ฟังก์ชันขั้นบันได หมายถึงฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริงและมีค่าของฟังก์ชันเป็นค่าคงตัวเป็นช่วงๆมากกว่าสองช่วงกราฟของฟังก์ชันนี้มีลักษณะคล้ายขั้น  อ่านเพิ่มเติม         
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ฟังก์ชันขั้นบันได

กราฟของฟังชันกำลังสอง

          กราฟของฟังชันกำลังสอง                                                                                                                                                                                                        1)   กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง ที่กำหนดด้วยสมการ    y  =  ax^2   เมื่อ  a ไม่เท่ากับ 0

        กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง   มีชื่อเรียกว่า  พาราโบลา  ซึ่งลักษณะของกราฟของฟังก์ชันขึ้นอยู่กับค่าของ  a , b  และ  c   และเมื่อ  เป็นบวกหรือลบ  จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ  และกราฟของฟังก์ชันกำลังสองที่กำหนดด้วยสมการ    y  =  ax^2   เมื่อ  a ไม่เท่ากับ 0       เมื่อ  a  > 0   และชนิดคว่ำ   เมื่อ   a < 0 อ่านเพิ่มเติม
Picture

โดเมนและเรนด์

    โดเมนและเรนด์                                                                                                                                                                               โดเมน (Domain) ของความสัมพันธ์ r คือ เซตที่มีสมาชิกตัวหน้าของทุกคู่อันดับในความสัมพันธ์ r ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย Dr ดังนั้น  Dr = {x | (x, y) ε r}

 เรนจ์ (Range) ของความสัมพันธ์ r คือ เซตที่มีสมาชิกตัวหลังของทุกคู่อันดับในความสัมพันธ์ r ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย R rดังนั้น  Rr = {y | (x, y) ε r}อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ โดเมนและเรนจ์

ความสัมพันธ์และฟังชัน

   ความสัมพันธ์และฟังชัน                                                                                                                                                  คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
 (การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d  อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง

การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง

ในการเขียนสัญลักษณ์แทนจำนวน นิยมใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x, y แทนจำนวน และเรียกอักษรเหล่านั้นว่า ตัวแปร สำหรับตัวเลขที่แทนจำนวน เช่น 1,2,3 เรียกว่า ค่าคงตัว เรียกข้อความในรูปสัญลักษณ์ เช่น 2, 3x, 5+x, x-8 ว่า นิพจน์ เรียกนิพจน์ที่เขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น -3, 2x, 3xy  ว่า เอกนาม และเรียกนิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนามหรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไปว่า พหุนาม อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง

วันอาทิตย์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกละการคูณ

สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกละการคูณ
จำนวนจริง
จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้
จำนวนอตรรกยะ (irrational number) เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะซึ่งไม่สามารถเขียนในรูปทศนิยมซ้ำหรือเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ และ
สามารถกำหนดค่าโดยประมาณได้ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ